เมนู

อิทธิบาท 4 กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอตีตารัมมณะ เป็นทั้งอนาคตา-
รัมมณะ เป็นทั้งปัจจุปปันนารัมมณะ.
อิทธิบาท 4 เป็นอัชฌัตตะก็มี เป็นพหิทธาก็มี เป็นอัชฌัตตพหิทธา
ก็มี.
อิทธิบาท 4 เป็นพหิทธารัมมณะ.
อิทธิบาท 4 เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆะ.

ทุกมาติกาวิสัชนา


1. เหตุโคจฉกวิสัชนา


[538] วีมังสิทธิบาท เป็นเหตุ อิทธิบาท 3 เป็นเหตุ, อิทธิบาท 4
เป็นสเหตุกะ, อิทธิบาท 4 เป็นเหตุสัมปยุต, วีมังสิทธิบาท เป็นเหตุสเหตุกะ
อิทธิบาท 3 กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุสเหตุกะ แต่เป็นสเหตุกนเหตุ, วีมังสิทธิ
บาท เป็นเหตุเหตุสัมปยุต, อิทธิบาท 3 กล่าวไม่ได้ว่า เหตุเป็นเหตุสัมปยุต
เป็นแต่เหตุสัมปยุตตนเหตุ, อิทธิบาท 3 เป็นนเหตุสเหตุกะ, วีมังสิทธิบาท
กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นนเหตุสเหตุกะ แม้เป็นนเหตุอเหตุกะ,

2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, จูฬันตรทุกาทิวิสัชนา


[539] อิทธิบาท 4 เป็นสัปปัจจยะ, อิทธิบาท 4 เป็นสังขตะ อิทธิ
บาท 4 เป็นอนิทัสสนะ, อิทธิบาท 4 เป็นอัปปฏิฆะ, อิทธิบาท 4 เป็นอรูป,
อิทธิบาท 4 เป็นโลกุตตระ, อิทธิบาท 4 เป็นเกนจิวิญเญยยะ, เป็นเกนจินวิญ-
เญยยะ, อิทธิบาท 4 เป็นโนอาสวะ อิทธิบาท 4 เป็นอนาสวะ, อิทธิบาท 4
เป็นอาสววิปปยุต อิทธิบาท 4 กล่าวไม่ได้ว่า เป็นทั้งอาสวสาสวะ เป็นทั้ง

สาสวโนอาสวะ, อิทธิบาท 4 กล่าวไม่ได้ว่า เป็นทั้งอาสวอาสวสัมปยุต เป็น
ทั้งอาสวสัมปยุตตโนอาสวะ, อิทธิบาท 4 เป็นอาสววิปปยุตตอนาสวะ อิทธิ-
บาท 4 เป็นโนสัญโญชนะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนคันถะ ฯลฯ อิทธิบาท 4
เป็นโนโอฆะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนโยคะ ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนนีวรณะ
ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นโนปรามาสะ ฯลฯ

10. มหันตรทุกวิสัชนา


[540] อิทธิบาท 4 เป็นสารัมมณะ, อิทธิบาท 3 เป็นโนจิตตะ,
จิตติทธิบาท เป็นจิตตะ, อิทธิบาท 3 เป็นเจตสิกะ, จิตติทธิบาท เป็นอเจตสิกะ,
อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสัมปยุต, จิตติทธิบาท กล่าวไม่ได้ว่า เป็นทั้งจิตตสัมปยุต
เป็นทั้งจิตตวิปปยุต, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐะ, จิตติทธิบาท กล่าวไม่
ได้ว่าเป็นทั้งจิตตสังสัฏฐะ เป็นทั้งจิตตวิสังสัฏฐะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสมุฏ-
ฐานะ, จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสมุฏฐานะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสหภู
จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสหภู อิทธิบาท 3 เป็นจิตตานุปริวัตติ จิตติทธิบาท
เป็นโนจิตตานุปริวัตติ. อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ,จิตติทธิบาท
เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภู,
จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภู, อิทธิบาท 3 เป็นจิตตสัง-
สัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ, จิตติทธิบาท เป็นโนจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ,
อิทธิบาท 3 เป็นพาหิระ, จิตติทธิบาท เป็นอัชฌัตติกะ, อิทธิบาท 4 เป็น
นอุปาทา, อิทธิบาท 4 เป็นอนุปาทินนะ.

11,12,13, อุปาทานโคจฉกาทิวิสัชนา


[541] อิทธิบาท4 เป็นนอุปาทานะ ฯลฯ อิทธิบาท4 เป็นโนกิเลสะ
ฯลฯ อิทธิบาท 4 เป็นนทัสสเนนปหาตัพพะ, อิทธิบาท 4 เป็นนภาวนายปหา-